แก่น แห่งการเรียนรู้ สามระดับ

แก่นนคร คนที่มีแก่นสาร

วันเสาร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2552

Metaphore (อุปมา)

การอุปมา ทำให้ความคิดสร้างสรรค์ และเป็นการจัดระเบียบความคิดของเรา ช่วยให้ความคิดของเราจับบางสิ่งบางอย่างที่สามารถเข้าใจได้ ในขณะที่เรายังไม่เข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้นตรงหน้าของเรานั้น การอุปมาเป็นการเปรียบเทียบความหมาย และคุณลักษณะของอีกสิ่งหนึ่ง เราใช้อุปมาตลอดเวลา และบ่อยครั้งด้วย แทบจะไม่รู้ตัวด้วยซ้ำไป ยิ่งการสนทนาในสิ่งที่ยากเข้าถึงได้ คำอุปมา จำเป็นอย่างยิ่ง โดยฐานของการมีประสบการณ์ เช่นเดียวกับการใช้จิตนาการ ให้เห็นเป็นภาพซึ่ง
"เดินทะลุกำแพง"" อูฐลอดรูเข็ม " "เข็นครกขึ้นภูเขา" "น้ำขึ้นให้รีบตัก"

วันศุกร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2552

แก่น แห่งการเรียนรู้ สามระดับ

ารเรียนรู้สามระดับ

การเรียนรู้โดยใช้เหตุและผล
จากสิ่งที่จดจำมา "จำได้หมายรู้"

การ เรียนรู้โดย "ระลึกรู้" ตาม"จินตนาการ"








การเรียนรู้ ผ่านทำจริงให้ผลจริง "ความรู้จริงอย่างยิ่ง"โดยผ่าน กายรู้สึก
เสมือน จุดจักรวาล ่"ที่มี ๓ ปัจจัยอันก่อประกอบ"

เริ่มต้นที่กายาเชื่อมโยง.. พัฒนาตามระดับขั้น
"ญาณทัศนะ"

วันพฤหัสบดีที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2552

เรื่องเล่าเมื่อวัยเด็ก


อารมณ์แห่ง เยาว์วัย ความกล้าหาญ ขี้เล่น

ความทรงจำที่ประทับใจ
ความสนุกสนาน


เพื่อนเล่นจนลืมเวลา

ไม่รู้จักเหนื่อย

ความทรงจำที่เลือนลางจางหาย

อิสระจากกรอบภาระงาน

นี้ยังระลึกนึกถึงได้อย่างไรกัน






นี้เลย ใช่เลย นี้แหล่ะตอนเด็กแบบนี้เลย













จิตรับอารมณ์

เมื่ออารมณ ์
ผ่านประตูรับ
ปักลงสู่จิต
การก่อดับ
สืบต่อ เนื่องกัน
ตลอดเป็น วงจรแห่ง
ธารกระแส..ไหลลงสู่ที่ต่ำ

สนทนาธรรม

Though through all his life ถึงจะอยู่ใกล้บัณฑิต
A fool associates with wise man เป็นเวลานานชั่วชีวิต
He yet understands not the Dharma คนโง่ก็หารู้พระธรรมไม่
As the spoon the flavour of soup เหมือนจวักไม่รู้รสแกง


วันพุธที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2552

รายการบล็อกของฉัน

ผู้ติดตาม

คลังบทความของบล็อก

Powered By Blogger